อาจารย์กัลยาณี สุวิทวัส นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา กล่าวถึงจำนวนเกษตรกรและพื้นที่ปลูกกล้วยน้ำว้า สายพันธุ์กล้วยน้ำว้า พันธุ์ปากช่อง 50 อันเป็นผลงานวิจัยของอาจารย์กัลยาณี และคณะ
วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
ปลูกกล้วยน้ำว้า ปากช่อง 50 ให้ขายตลอดปี สูตร อ.กัลยาณี สุวิทวัส สถานีวิจัยปากช่อง
อาจารย์กัลยาณี สุวิทวัส นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา กล่าวถึงจำนวนเกษตรกรและพื้นที่ปลูกกล้วยน้ำว้า สายพันธุ์กล้วยน้ำว้า พันธุ์ปากช่อง 50 อันเป็นผลงานวิจัยของอาจารย์กัลยาณี และคณะ
เทคนิค การดูแลต้นกล้วย ให้ได้ผลผลิตดี
เทคนิค การดูแลต้นกล้วย ให้ได้ผลผลิตดี
โดย อาจารย์กัลยาณี สุวิทวัส นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ขอบคุณ วีดีโอจากยูทูป บริษัท อินวินซิเบิล 1995 จำกัด ผู้ผลิต
วันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
วิธีการปลูกกล้วยหอมทอง
การปลูก
การเตรียมดินไถดะ 1 ครั้ง ตากดินแล้วไถพรวน 1- 2ครั้ง ให้ดินร่วนซุยไม่มีวัชพืช ถ้ามีวัชพืชมากกว่าร้อยละ 20 ต้องไถพรวนใหม่หรือ ทำแปลงขนาดกว้าง 7 เมตร ปลูก 3 แถว 2 x 1.8 เมตร
วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วย

เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เทคโนโลยีทางชีวภาพที่มีการนำมาใช้ในการขยายพันธุ์พืชให้มีปริมาณมากๆ ได้พืช พันธุ์ดีที่ปลอดโรคและให้ผลผลิตสูงก็คือเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ซึ่งเป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีหนึ่งที่ใช้ชิ้นส่วนของพืช เช่น ลาต้น ตายอด ตาข้าง
ก้านช่อดอก ใบ ก้านใบ เป็นต้น มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ภายใต้สภาพที่ควบคุมเรื่อง
ความ สะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิ และแสง เมื่อชิ้นส่วนนั้นเจริญและพัฒนาเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์
มีทั้งส่วนใบ ลาต้นและรากที่ สามารถนำไปปลูกในสภาพธรรมชาติได้
วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
ปริมาณธาตุอาหารในมูลสัตว์ชนิดต่างๆ
ข้อมูลของธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับพืชที่มีอยู่ในมูลสัตว์แต่ละชนิด เพื่อการเลือกใช้ กับพืชที่เราปลูกครับ
สารอาหารสำหรับพืช

สารอาหารสำหรับพืช หมายถึง สารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเติบโตของพืช ซึ่งสามารถถูกจัดได้จากเกณฑ์คือ (1) ถ้าเกิดพืชขาดสารอาหารนี้แล้ว ทำให้พืชไม่สามารถวงจรชีวิตได้ตามปกติ หรือ (2) สารนั้นเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของพืชหรือส่วนประกอบของสารตัวกลางในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite)
กล้วยน้ำว้าปากช่อง 50

วงศ์ : Musaceae
กลุ่ม : Eumusa
ชนิด (Species/Group) : Musa sp.(ABB Group) ‘Kluai Namwa Pakchong 50’
ชื่อไทย : กล้วยน้ำว้าปากช่อง 50
ชื่อพ้อง : กล้วยน้ำว้าอุบล, กล้วยน้ำว้าไส้เหลือง,กล้วยน้ำว้าเกษตร, กล้วยน้ำว้าปากช่องนัมเบอร์1
ถิ่นอาศัย : ทุกภาคในประเทศ
แหล่งที่พบ : พบได้ทุกภาคในประเทศไทย
กล้วยน้ำว้าตะนาวศรี

วงศ์ : Musaceae
กลุ่ม : Eumusa
ชนิด (Species/Group) :Musa sp.(ABB Group) ‘Kluai Namwa Tanaow Sri’
ชื่อไทย : กล้วยน้ำว้าตะนาวศรี
ชื่อพ้อง : กล้วยน้ำว้าไส้เหลือง, กล้วยน้ำว้าดง
ถิ่นอาศัย : ภาคกลาง ภาคตะวันตก
แหล่งที่พบ : จังหวัด#ราชบุรี#กาญจนบุรี และเขต#ภาคกลาง#ภาคตะวันออก ของประเทศ
กล้วยน้ำว้าดำ

วงศ์ : Musaceae
กลุ่ม : Eumusa
ชนิด (Species/Group) : Musa sp.(ABB Group) ‘Kluai Namwa Dum’
ชื่อไทย : กล้วยน้ำว้าดำ
ชื่อพ้อง : กล้วยน้ำว้าทองสัมฤทธิ์, กล้วยน้ำว้าไฟ, กล้วยน้ำว้าสำริด, กล้วยน้ำว้าแดง
ถิ่นอาศัย : ภาคกลาง
แหล่งที่พบ : #นนทบุรี#นครปฐม#เพชรบุรี
กล้วยน้ำว้าค่อม
กลุ่ม : Eumusa
ชนิด (Species/Group) : Musa sp.(ABB Group) ‘Kluai Namwa Khom’
ชื่อไทย : กล้วยน้ำว้าค่อม
ชื่อพ้อง : กล้วยน้ำว้าเตี้ย, กล้วยน้ำว้าปีนัง
ถิ่นอาศัย : ทุกภาคในประเทศไทย
แหล่งที่พบ: พบได้ทุกภาคในประเทศไทย
ประวัติของกล้วย

ประวัติของกล้วย
กล้วยเป็นไม้ผลที่คนไทยรู้จักกันมานาน เนื่องจากกล้วยมีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า กล้วยมีวิวัฒนาการถึง ๕๐ ล้านปีมาแล้ว ดังนั้นจึงเป็นไม้ผลที่มนุษย์รู้จักบริโภคเป็นอาหารกันอย่างแพร่หลาย เชื่อกันว่า กล้วยเป็นไม้ผลชนิดแรก ที่มีการปลูกเลี้ยงไว้ตามบ้าน และได้แพร่พันธุ์จากเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังดินแดนอื่นๆ ในระยะเวลาต่อมา
กล้วยมีการปลูกกันมากในเอเชียใต้ แม้ในปัจจุบัน ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่มีการปลูกกล้วยมากที่สุดในโลก และมีพันธุ์กล้วยมากมายอีกด้วย เหมาะสมกับที่มีการกล่าวกันไว้ในหนังสือของชาวอาหรับว่า
พีทมอส (Peat moss)

วันจันทร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
การทำไร่นาสวนผสม
ไร่นาสวนผสม
การเกษตรของไทยในอดีตเป็นการทำการเกษตรเพื่อยังชีพโดยอาศัยความอุดมสมบูรณ์จากธรรมชาติ
จึงไม่ค่อยจะพบปัญหามากนัก
แต่ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรมีการใช้เทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่
เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอแก่การบริโภคของประชากรและเพื่อการส่งออกเป็นรายได้เข้าสู่ประเทศจึงทำให้การทำการเกษตรในปัจจุบันประสบปัญหามากขึ้น
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการขาดความสมดุลทางธรรมชาติการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชรวมทั้งด้านการตลาดซึ่งนับวันจะแปรปรวนมากขึ้นเรื่อย
ๆจากปัญหาดังกล่าว การทำ
ไร่นาสวนผสมจึงเป็นทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรที่จะลดความเสี่ยงที่เกิดจากภัยธรรมชาติและความไม่แน่นอนของราคาผลผลิตโดยการทำการเกษตรหลายๆ
อย่าง เพื่อเพิ่มระดับรายได้
สามารถหมุนเวียนการใช้ทรัพยากรในไร่นาได้มากขึ้น
สร้างความสมดุลให้กับธรรมชาติทำให้ระบบนิเวศเกษตรของชุมชนดีขึ้น
เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและมีความมั่นคงในการที่จะประกอบอาชีพการเกษตรต่อไปเป็นการทำกิจกรรมการเกษตรหลาย
ๆ อย่าง( ตั้งแต่ 2 อย่าง ) เพื่อตอบสนองต่อการบริโภคและลดความเสี่ยงจากราคาผลผลิตและภัยธรรมชาติ
ซึ่งกิจกรรมการเกษตรไม่จำเป็นต้องเกื้อกูลกันเช่น การเลี้ยงไก่ สุกร
รวมกับการปลูกพืช การปลูกโกโก้แซมในสวนมะพร้าว
การเลี้ยงปลาในร่องสวนไม้ผลหรือสวนผัก
หรืออาจจะมีการเกื้อกูลกันระหว่างกิจกรรมการผลิต
โดยนำเศษเหลือของกิจกรรมหนึ่งไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับอีกกิจกรรมหนึ่งเช่น
เศษพืชผักเป็นอาหารสุกร มูลสุกรเป็นอาหารปลาน้ำจากบ่อปลานำไปรดพืชผัก
เป็นต้นลักษณะการทำกิจกรรมหลาย ๆ
อย่างเช่นนี้เกษตรกรจะมีรายได้จากผลผลิตหลาย ๆ อย่าง
มีการกระจายการใช้แรงงานอย่างมีประสิทธิภาพตลอดทั้งปี
มีความรักและผูกพันกับไร่นา มีความภาคภูมิใจในผลงานและผลผลิตของตนเอง
ไม่อยากทิ้งไร่นาไปที่อื่น
เกษตรกรมีรายได้ตลอดปีและลดค่าใช้จ่ายสำหรับการซื้ออาหารเช่น ผัก ผลไม้
และแหล่งอาหารโปรตีนเช่น ปลา ไก่ เป็นต้น